ราชกิจจาฯ ประกาศเปลี่ยนชื่อมหาวิทยาลัยเมธารัถย์ เป็นมหาวิทยาลัยชินวัตร

เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 141 หน้า 2 ตอนพิเศษ65 ง ลงวันที่ 6 มีนาคม 2567 ได้เผยแพร่ ประกาศกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เรื่อง การเปลี่ยนชื่อสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยคำแนะนำของคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ราชกิจจาฯ ประกาศ ข้าราชการอัยการ 99 ราย ต้องพ้นจากราชการ

โปรดเกล้าฯ พระราชทานยศข้าราชการในพระองค์ 8 นายทหารสัญญาบัตร

โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งข้าราชการในพระองค์ฝ่ายทหาร และพระราชทานยศ 2 "พลตรี"

ในการประชุมครั้งที่ 1/2567 เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2567 อนุญาตให้ มหาวิทยาลัยเมธารัถย์ (METHARATH UNIVERSITY)ตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ที่ 10 ตำบลบางเตย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เปลี่ยนชื่อเป็น มหาวิทยาลัยชินวัตร (SHINAWATRA UNIVERSITY) ตั้งแต่วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2567 เป็นต้นไป

จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567 นางศุภมาส อิศรภักดี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นผู้ลงนาม

ผู้สื่อข่าวรายงานเพิ่มเติมว่า ก่อนหน้านี้ ราชกิจจานุเบกษา ได้ประกาศให้ มหาวิทยาลัยชินวัตร เปลี่ยนเป็นชื่อ มหาวิทยาลัยเมธารัถย์ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 25 ตุลาคม 2565 กระทั่งมีการประกาศเปลี่ยนชื่อกลับเป็นมหาวิทยาลัยชินวัตรในปี 2567

ประกาศกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาลัย วิจัยและนวัตกรรม เรื่อง การเปลี่ยนชื่อสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (มหาวิทยาลัยชินวัตร)คำพูดจาก สล็อตเว็บตรง

ร้อนตับแตก! 5-6 มี.ค.นี้ ดัชนีความร้อน พุ่งสูงทะลุ 48-51 องศา

iOS 17.4 เปิดอัปเดตแล้ว มาพร้อมอิโมจิ-ฟีเจอร์ใหม่เพียบ!

แฉลากไส้! แก๊งกะเทยฟิลิปปินส์ มี “แม่แท็ค” คุมซอยสุขุมวิท 11

โหวตนายก – "พิธา" ลั่น! ต้องไม่มีศาลเตี้ยในสภาแห่งนี้ แจงรัดกุมปมถือหุ้น ITV

นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคก้าวไกล และแคนดิเดตนายกรัฐมนตรี ได้ลุกขึ้นอภิปราย เพื่อขอใช้สิทธิพาดพิง นายประพันธุ์ คูณมี และนายชาดา ไทยเศรษฐ์ ที่อภิปรายในประเด็นคุณสมบัตินายกรัฐมนตรีคำพูดจาก ปั่นสล็อตแตกทุกเกม

ว่า "การโหวตนายกรัฐมนตรี ผมยังมีคุณสมบัติสมบูรณ์แบบทุกประการ และมีความชอบธรรมซึ่งในกระบวนการตนยังไม่รู้ว่าข้อกล่าวหาคืออะไรเห็นเพียงผ่านสื่อมวลชน สมมติฐานที่ว่าบริสุทธิ์ไว้ก่อน

มีศาลเตี้ยในสภานี้ไม่ได้ตอนยังไม่มีโอกาสในการชี้แจง แม้แต่ครั้งเดียวในปี 62 มีเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้นก็ไม่กระทบต่อการเลือกนายกรัฐมนตรี ผมรัดกุมมาตลอดเกี่ยวกับการยื่น ป.ป.ช. ตั้งแต่เป็น ส.ส.ครั้งแรก ครั้งนี้และครั้งต่อไปเพราะผม ยอมรับในการตรวจสอบ ก็ยังดีกว่าบางคนที่ไม่ยอมรับการตรวจสอบ ไม่ว่าจะเป็น กกต. หรือ ป.ป.ช.ก็ตาม"

"ชัยธวัช" เตือนสติสมาชิกรัฐสภา ขออย่านำสถาบันมาปะทะกับผลการเลือกตั้ง

ขณะที่นายชัยธวัช ตุลาธน อภิปรายในประเด็นการเสนอชื่อนายพิธา เป็นนายกรัฐมนตรี ที่ระบุว่า การเลือกตั้งผ่านมาแล้ว 2 เดือน ประชาชนเฝ้ารอว่านายกรัฐมนตรี ที่มาจากพรรคอันดับ 1 อย่างนายพิธา ที่ต้องได้ขึ้นเป็นนายกฯ แล้ว ทุกอย่างต้องเรียบง่าย แต่ตอนนี้กลับมีคำถามในใจของพี่น้องประชาชน ว่าหากนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ไม่เป็นไปตามผลการเลือกตั้ง แล้วเราจะมีการเลือกตั้งไปทำไม ตกลงอำนาจอธิปไตยของประเทศนี้ เป็นอำนาจของปวงชนชาวไทย ตามที่ปรากฏและบัญญัติอยู่ในรัฐธรรมนูญหรือไม่ หรือเป็นของใครกันแน่

นายชัยธวัช ยังย้อนเหตุการณ์การเมือง ทั้งรัฐประหาร ยุบพรรค การตั้งรัฐบาลในค่ายทหาร และการชุมนุมครั้งใหญ่ มีทั้งผู้ที่เสียชีวิต บาดเจ็บ จากเหตุการณ์ทางการเมือง ในช่วง 2 ทศวรรษ หากเรายังเป็นเช่นนี้อยู่ เราก็แทบจะไม่เห็นอนาคตของประเทศเลย พร้อมระบุว่า การเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา และการลงมติในสภาวันนี้ จะได้เป็นโอกาสสำคัญ ในการแสวงหาตำตอบ ให้กับสังคม

นายชัยธวัช ยังกล่าวว่า สมาชิกหลายคนอาจไม่เห็นด้วยกับพรรคก้าวไกล หลายคนมีความกังวลใจ ไม่คุ้นเคยกับการเปลี่ยนแปลง อย่างการเสนอแก้ไข ม.112 ว่าเจตนาที่แท้จริงแล้ว อยู่บนฐานความคิด ว่าสถาบันของชาติ สถาบันการเมืองใดๆ ก็ตาม จะดำรงอยู่ได้ ก็ด้วยความยินยอมพร้อมใจของประชาชน

"ไม่มีสถาบันใด สามารถดำรงอยู่ได้ด้วยการกด ปราบ บังคับ แล้วนี่เป็นสิ่งที่เราพยายามจะเตือน ให้สติกับสมาชิกที่อยู่ในสภาฯ และกับสังคมไทย ผู้มีอำนาจทุกฝ่าย ให้ตั้งสติ แล้วมองการไกล เข้าใจสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงปัจจุบัน แล้วเล่งเห็นให้ได้ว่า วิธีการอะไรที่ดีที่สุด ที่จะสามารถรักษาสิ่งที่พวกเรารัก สิ่งที่หลายคนหวงแหนให้ดำรงอยู่ให้ได้"

นายชัยธวัช ยังไม่อยากเห็นสิ่งที่เกิดในระบอบประชาธิปไตย ที่ถูกกล่าวหาว่า ถ้าเลือกนายพิธา เป็นนายกรัฐมนตรีแล้ว จะเกิดการล้มล้างสถาถัน ไม่รักชาติ ตนไม่อยากเห็นแบบนี้เลย เพราะการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เพราะท่านทรงอยู่เหนือการเมืองทุกประการ อยู่เหนือความขัดแย้งทางการเมือง แล้วอันตรายมากที่เมื่อไหร่ต่างฝ่ายต่างดึงเรื่องนี้เข้ามาพัวพันในความขัดแย้งทางการเมือง ซึ่งเห็นอยู่แล้วในเกือบ 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ผลในวันนี้เป็นอย่างไร เราพยายามที่จะเสนอต้องช่วยกัน ช่วยกันนำสถาบันพระมหากษัตริย์ออกจากความขัดแย้งทางการเมือง และยิ่งนำสถาบันพระมหากษัตริย์มาปะทะกับผลการเลือกตั้ง ไม่สมควรอย่างยิ่ง ก่อนตั้งคำถามใครจะรับผิดชอบกับผลการกระทำแบบนี้